Skip to main content

จิตภาวนาแห่งอีอีซี (Meditation of EEC)


BUU




เกี่ยวกับรายวิชา (About This Course)

รายวิชา จิตภาวนาแห่งอีอีซีคือแนวทางหนึ่งของการพัฒนาจิตแบบผสมผสานระหว่างแนวปฏิบัติอานาปานสติและสติปัฏฐานให้เป็นสมาธิระดับปฐมฌานเพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตและการทำงาน ประกอบด้วยที่มาของจิตภาวนา ความหมาย เป้าหมาย ปฐมฌาน นิวรณ์ ศีล สติ อารมณ์ปรมัตถ์ องค์ธรรมการปฏิบัติ อานาปานสติ รูปนาม ปัญญา ญาณ ตัวชี้วัด ลำดับการปฏิบัติ สติปัฏฐาน อบายภูมิ นิพพาน ธรรมนิยาม ปฏิจจสมุปบาท การดำเนินชีวิตและการทำงานด้วยสมาธิระดับปฐมฌาน บูรณาการภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ: การเดินสติปัฏฐาน การนั่งสติปัฏฐาน การยืนสติปัฏฐาน การกราบสติปัฏฐาน การแผ่เมตตา ผลจากการปฏิบัติจิตภาวนา และโพธิธรรมอุบาย

โดยเนื้อหาประกอบด้วย

บทที่ 1: ปฐมบทแห่งจิตภาวนา

  • 1.1 ที่มา ความหมาย เป้าหมาย ปฐมฌาน นิวรณ์ ศีล และองค์ธรรมการปฏิบัติ
  • 1.2 อานาปานสติ รูปนาม ปัญญา ญาณ ตัวชี้วัด ลำดับการปฏิบัติ
  • 1.3 โพธิธรรมอุบาย
  • บทที่ 2: สติปัฏฐาน และองค์ธรรมการปฏิบัติ

  • 2.1 สติปัฏฐาน
  • 2.2 องค์ธรรมการปฏิบัติ
  • 2.3 โพธิธรรมอุบาย
  • บทที่ 3: นิวรณ์ ปฐมฌาน อบายภูมิ และนิพพาน

  • 3.1 นิวรณ์ และปฐมฌาน
  • 3.2 อบายภูมิ และนิพพาน
  • 3.3 โพธิธรรมอุบาย
  • บทที่ 4: อานาปานสติ ญาณ และธรรมนิยาม

  • 4.1 อานาปานสติ
  • 4.2 ญาณ และธรรมนิยาม
  • 4.3 โพธิธรรมอุบาย
  • บทที่ 5: การดำเนินชีวิตและการทำงานด้วยสมาธิระดับปฐมฌาน

  • 5.1 การดำเนินชีวิตด้วยสมาธิระดับปฐมฌาน
  • 5.2 การทำงานด้วยสมาธิระดับปฐมฌาน
  • 5.3 โพธิธรรมอุบาย
  • บทที่ 6: บูรณาการภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

  • 6.1 การเดินสติปัฏฐาน และการนั่งสติปัฏฐาน
  • 6.2 การยืนสติปัฏฐาน และการกราบสติปัฏฐาน
  • 6.3 การแผ่เมตตา และผลจากการปฏิบัติจิตภาวนา
  • วัตถุประสงค์ (Learning Objectives)

  • 1. ระบุข้อธรรมและหลักธรรมได้อย่างถูกต้อง
  • 2. อธิบายความหมายของข้อธรรมและหลักธรรมได้อย่างถูกต้อง
  • 3. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของโครงสร้างและกระบวนธรรมได้อย่างถูกต้อง
  • 4. เปรียบเทียบ แยกความแตกต่าง และหรือจัดกลุ่มข้อธรรมและหลักธรรมได้อย่างถูกต้อง
  • 5. เลือกและหรือจัดลำดับความสำคัญของข้อธรรมและหลักธรรมได้อย่างถูกต้อง
  • เกณฑ์การวัดและประเมินผล (Evaluation and Score Criteria)

  • 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 0%
  • 2. แบบทดสอบระหว่างเรียนทุกบท 60%
  • 3. แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam) 40%
  • ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
  • ข้อแนะนำสำหรับการเรียน (Learning Advice)

  • 1. ผู้เรียนควรทำกิจกรรมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบในรายวิชาให้ครบ
  • 2. ผู้เรียนควรทบทวนความเข้าใจเนื้อหาของแต่ละบทเรียนและทำกิจกรรมตามที่ผู้สอนมอบหมายตลอดจนทำแบบฝึกหัดหลังเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  • 3. ผู้เรียนสามารถทำแบบทดสอบได้ข้อละ 2 ครั้งเท่านั้น
  • อาจารย์ผู้สอน (Course Lecturer)

    Course Staff Image #1
    รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี วิวาห์สุข
  • สาขาวิชาไทยศึกษา
  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • Enroll